แฟง
วันพุธที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2568
วันอังคารที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2568
นวัตกรรม ใหม่ ว้าว ส่ง อจฟ สุดหล่อ
ศูนย์ฯ โชว์ 3 นวัตกรรมสุดว้าวขับเคลื่อนบีซีจี ในงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย ร่วมกับหน่วยงานภายใต้กระทรวง อว.
16 ส.ค. 2566 / By petromat / Event
นวัตกรรมดังกล่าว ได้แก่ ‘Cello-gum’ โดย ศ.ดร.หทัยกานต์ มนัสปิยะ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาฯ ‘BioMushBloom’ โดย รศ.ดร.ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ม.ศิลปากร และ ‘A Novel Eco-friendly 3D Printing Filament’ โดย อ.ดร.ชัญญา อรสุทธิกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งจัดแสดงบริเวณนิทรรศการของศูนย์ความเป็นเลิศทั้ง 11 ศูนย์ ณ อิมแพ็คอารีนา เมืองทองธานี ระหว่างวันที่ 11 – 15 สิงหาคม 2566
พร้อมกันในงานนี้ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุได้มีโอกาสนำเสนอนวัตกรรมแด่ นายชวน หลีกภัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานรัฐสภาและอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม และนางสาวสุณีย์ เลิศเพียรธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวง อว. เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม
โดยตลอดช่วงเวลาของการจัดนิทรรศการนี้ นวัตกรรมของศูนย์ฯ ได้รับความสนใจทั้งจากนักวิจัย นักเรียนนักศึกษา ตลอดจนนักพัฒนานวัตกรรมในระดับอุตสาหกรรม
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ
อาคารวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 7 ห้อง 705/1
254 ซอยจุฬาฯ 12 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
02 2184141-2
petromat@chula.ac.th
petromat.coe
วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
ใบงานที่ 2
ฟหกฟกดฟกห
ฟกหด
ฟกห
ด
กฟหด
ฟกหดงฟกหเดฟกหเ
ฟหเ
ฟกหด
เฟกหดเ
ฟหกด
เ
ฟกหดเ
ฟหกด
เฟกห
เฟกหด
เฟห
กดเ
วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2567
นวัตกรรมว้าว ๆ
AI กลายเป็นเทรนด์เทคโนโลยีที่ถูกพูดถึงและนำมาใช้กันแพร่หลายทั่วโลก ประเทศไทยเอง มีความพยายามที่จะก้าวสู่การเป็นประเทศที่สามารถพัฒนาเทคโนโลยี AI ใช้เองโดยไม่ต้องพึ่งพาต่างชาติ โดยปัจจุบัน ประเทศไทยมีแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ พ.ศ. 2565-2570 ที่มุ่งเน้นการนำ AI มาใช้อย่างกว้างขวางเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานต่างๆ เพื่อขับเคลื่อนแผนนี้โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีแผนและเป้าหมายที่ชัดเจน แต่ประเทศไทยยังเผชิญความท้าทายสำคัญในการพัฒนา AI ให้ใช้ได้เองอย่างแท้จริง โดยเฉพาะในด้าน "คนเก่ง" และ "เงินทุน"
ในยุคที่ AI กลายเป็นเทรนด์เทคโนโลยีที่ถูกพูดถึงและนำมาใช้กันแพร่หลายมากที่สุด จากความโดดเด่นของการประมวลผลข้อมูลที่ชาญฉลาด และความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ ช่วยสนับสนุนการทำงานด้านต่างๆ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ทั้งในภาคการเกษตร การผลิต การค้า และบริการ จึงทำให้ทั่วโลกมีการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยี AI มากกว่า 9.19 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐในปี ค.ศ. 2022 และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐในปี ค.ศ. 2025 ขณะที่การนำ AI มาใช้งานสามารถช่วยเพิ่ม GDP ของโลกได้อีก 7% (7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และยกระดับประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น 1.5% ต่อปี โดยประเทศไทยเองก็อาจเพิ่มผลิตภาพประมาณ 0.9% ต่อปี จากการประยุกต์ใช้
องค์กรในไทย พร้อมแค่ไหนกับการใช้ AI?
จากการสำรวจความพร้อมในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AI ในองค์กร ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา พบว่า มีหน่วยงานเพียง 15.2% (จาก 565 หน่วยงานที่ตอบแบบสอบถาม) ที่นำเทคโนโลยี AI ไปใช้แล้ว
โดย 50% ของหน่วยงานที่ตอบแบบสอบถามคาดหวังในการใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือบริการขององค์กร
Recommended
ตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิดตัว AomWise แอปฯ ลงทุนหุ้น กองทุน ตราสารนอก ไม่มีขั้นต่ำ เน้นใช้งานง่าย
ตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิดตัว AomWise แอปฯ ลงทุนหุ้น กองทุน ตราสารนอก ไม่มีขั้นต่ำ เน้นใช้งานง่าย
ETDA ประกาศ คู่มือกำกับดูแลฯ คุ้มเข้มแพลตฟอร์มดิจิทัล ปล่อยมิจฉาชีพยิงแอด แก้ปัญหาโฆษณาหลอกลวง
ETDA ประกาศ คู่มือกำกับดูแลฯ คุ้มเข้มแพลตฟอร์มดิจิทัล ปล่อยมิจฉาชีพยิงแอด แก้ปัญหาโฆษณาหลอกลวง
ยุค AI ใครรวยสุด? เมื่อธุรกิจทุ่มเงินซื้อ AI ใช้กับพนักงานภายใน มากกว่าพัฒนาเพื่อลูกค้า
ยุค AI ใครรวยสุด? เมื่อธุรกิจทุ่มเงินซื้อ AI ใช้กับพนักงานภายใน มากกว่าพัฒนาเพื่อลูกค้า
รพ.กรุงเทพ ลงทุน 200 ล้าน เปิดศูนย์ผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์ ลดความเสี่ยงให้ผู้ป่วย เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว
รพ.กรุงเทพ ลงทุน 200 ล้าน เปิดศูนย์ผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์ ลดความเสี่ยงให้ผู้ป่วย เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว
ขณะที่เหตุผลของหน่วยงานที่ยังไม่นำ AI มาใช้งาน คือ
1. ยังอยู่ในช่วงของการศึกษาหาข้อมูล เนื่องจากยังไม่ทราบว่าจะนำ AI มาประยุกต์ใช้อย่างไร
2. ยังขาดความพร้อมในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร งบประมาณ
และ 3. ยังไม่มีความจำเป็นในการนำ AI มาใช้
ไทยเตรียมแผนรับมือทั้ง “คนเก่ง” และ “เงินทุน” ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงในยุค AI
ปัจจุบันประเทศไทยมีแผนด้าน AI ที่สร้างความเข้มแข็งให้กับหลากหลายภาคส่วน ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยี AI ของประเทศอย่างเป็นระบบ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สทวช. ได้ร่วมมือกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) จัดทำ “แผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทย พ.ศ. 2565-2570” ซึ่งมีเป้าหมายในการนำเทคโนโลยี AI มาใช้ในวงกว้าง เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจและช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ผ่าน 5 ยุทธศาสตร์ 15 แผนงานส่วนด้านของกลไกการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานที่เกี่ยวข้องรวม 3 คณะ ได้แก่
1. คณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ
2. คณะอนุกรรมการพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์
และ 3. คณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ
โดยมี สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ สกสว. ในฐานะกรรมการของคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ และอนุกรรมการของคณะอนุกรรมการพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ มีส่วนสำคัญในการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี AI ผ่านแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566-2570 โดยมีเป้าหมาย ดังนี้
1. การเพิ่มมูลค่าการขายผลิตภัณฑ์และบริหารเทคโนโลยีดิจิทัลและ AI จำนวน 1,000 ล้านบาท
2. หน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและ AI จากผลงานการวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม จำนวน 300 หน่วยงาน
3. การเพิ่มจำนวนผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย พัฒนา และ/หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและ AI จำนวน 600 คน
นอกจากนี้ สกสว. ได้มีการจัดสรรงบประมาณให้กับแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและ AI ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2566 เป็นจำนวนทั้งสิ้น 2,114.47 ล้านบาท
โดยแบ่งเป็นงบประมาณ 1,309.57 ล้านบาทในการสนับสนุนงานเชิงกลยุทธ์ ผ่านหน่วยบริหารจัดการทุนจำนวน 2 แห่ง ได้แก่
หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หรือ บพข. และสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. และงบประมาณ 804.9 ล้านบาท ในการสนับสนุนงานเชิงมูลฐาน ให้แก่หน่วยงานและมหาวิทยาลัยต่างๆ ในการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและ AI โดยแนวทางการสนับสนุนทุน ได้แก่ การพัฒนานวัตกรรมประยุกต์ใช้ AI ในอุตสาหกรรมต่างๆ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการพัฒนาและยกระดับกำลังคนด้าน AI
อีกทั้ง สกสว. ร่วมกับ TIME Labs ม.มหิดล เร่งพัฒนาโรดแม็ปวิจัย รองรับยุทธศาสตร์การเปลี่ยนผ่านสู่อุตสาหกรรม S-Curve ของประเทศไทย ผ่านการศึกษาการจัดทำแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีรายสาขา เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ฯ สู่อุตสาหกรรมใหม่ในอนาคต จำนวน 11 อุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยเฉพาะด้านดิจิทัลซึ่งเป็น 1 ใน 11 อุตสาหกรรม และมีประเด็นเรื่อง AI เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ โดยได้มีการวางเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ออกเป็นระยะสั้น พ.ศ. 2565-2566 ระยะกลาง พ.ศ. 2567-2569 และระยะยาว 5 ปีขึ้นไป
ซึ่งปัจจุบันเราอยู่ในแผนที่เป็นระยะกลาง พ.ศ. 2567-2569 ที่มีเป้าหมายคือ สร้างบุคลากรใหม่ด้านดิจิทัลหรือบัณฑิตจบใหม่จากสถาบันการศึกษาที่มีการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมต่อดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันและยังครอบคลุมการปรับคุณวุฒิ บุคลากรด้านดิจิทัลปัจจุบันด้วยหลักสูตรที่เหมาะสมในอุตสาหกรรมยกระดับการพัฒนาระบบต่างๆ
เพื่อเร่งสร้าง Talent ซึ่งถือเป็นปัจจัยหลักที่อุตสาหกรรมแห่งอนาคต หรือ Future Industry จะเข้ามาลงทุนในประเทศ ส่งผลให้ประเทศไทยสามารถเข้าสู่การเป็นประเทศที่สามารถคิดค้นและสร้างเทคโนโลยีของตนเอง และจะส่งผลโดยตรงต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจต่อหัวของประชากรไทยสูงขึ้น
นอกจากนี้แผนที่นำทางดังกล่าวจะเน้นการสร้างบุคลากรใหม่ด้านดิจิทัล การยกระดับการพัฒนาระบบต่างๆ เช่น การเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ทั้งสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล (Free access) และความยุติธรรมของการเข้าถึงข้อมูล (Fair access) ตลอดจนการเชื่อมต่อกันของข้อมูล (Connectivity) การยกระดับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่สามารถขับเคลื่อนด้วยปัญญาประดิษฐ์ (Al driven industries) แล้วนั้นยังได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่องต่างๆ ดังนี้
ADVERTISEMENT
• ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายร่วมระหว่างบุคลากรด้านดิจิทัลและอุตสาหกรรมอื่นๆ
• เพิ่มบุคลากรด้านดิจิทัลและส่งเสริมให้มีความสามารถในการทำงานกับต่างประเทศ
• ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ทั้งสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล (Free access) และความยุติธรรมของการเข้าถึงข้อมูล (Fair access) ตลอดจนการเชื่อมต่อกันของข้อมูล (Connectivity)
• กำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในมิติต่างๆ เช่น Digital Ethics, Decentralized Finance, Al Governance, AI TRiSM, Responsible Al
• ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น GPU, Network 5G, AI Maker Teaching Kits, Data labelling and annotation services, Al Cloud Services, Composite AI และ Sandbox สำหรับการวิจัยเทคโนโลยีใหม่ๆ
เรื่อง “ท้าทาย” ที่ “ต้องทำ” เพื่อก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว
นอกจากภาพรวมในเรื่อง AI ที่ได้กล่าวมาแล้ว พบว่าเทคโนโลยี AI มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะการถือกำเนิดของ Applications อย่าง ChatGPT ซึ่งเพิ่มเติมจากเรื่องกระบวนการเรียนรู้แบบ Machine Learning เดิมมาสู่ยุค Generative AI (GAI) ภายในช่วงเวลาไม่กี่ปี
ดังนั้นหากจะตอบคำถามว่าไทยมีความพร้อมแค่ไหนสำหรับการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ ก็คงเป็นคำตอบที่มีความท้าทายไม่น้อย ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกทิศทางและแนวทางในการเดินไปข้างหน้าในเรื่องนี้อย่างไร แน่นอนว่าเรื่องนโยบาย แผนงานที่ชัด กลไกการส่งเสริม รวมไปถึง งบประมาณการลงทุน จะเป็นตัวชี้นำการเปลี่ยนแปลงของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ
ขณะที่การลงทุนด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในเรื่อง AI นั้นเป็นสิ่งจำเป็นอันดับต้นๆ ที่จะเกื้อหนุนให้ภาคเอกชนรายใหญ่ทั้งไทยและต่างประเทศตัดสินใจที่จะเข้ามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะโอกาสที่เป็นปัจจัยด้านบวกในการเลือกสมรภูมิฐานการผลิตของค่ายยักษ์ใหญ่ที่เป็นผู้นำตลาดทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก ในการเข้ามาจัดตั้ง Data Center, Cloud System, AI Infrastructure อย่าง GPU และฐานการผลิตในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องมากมายในภูมิภาคนี้
พร้อมสนับสนุนการดำเนินงานร่วมกับภาคีทุกภาคส่วนเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในด้านดิจิทัลและ AI ในประเทศไทย เพื่อให้เรากลายเป็นประเทศที่สามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในอนาคตอันใกล้นี้
Author
กองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการไทยรัฐออนไลน์
Related Articles
ช่างภาพเป็นงง Meta ติดป้ายกำกับภาพถ่ายที่สแกนจากฟิล์มว่าเป็นภาพที่สร้างด้วย AI
‘เหมืองถ่านหิน 5G+’ ในจีน ใช้ AI-หุ่นยนต์ ช่วยทำงานอัตโนมัติกันแล้ว (คลิป)
หุ้น Nvidia วูบหนัก 13% ใน 3 วัน หลังขึ้นเป็นบริษัทมูลค่าสูงสุดในโลก กดหุ้นชิปร่วงยกแผง
ซีอีโอ SoftBank กล่าวว่า "AI ฉลาดกว่ามนุษย์ 10,000 เท่า จะปรากฏขึ้นใน 10 ปี"
โลกเปิดกว้าง คนไทยทุกเพศทุกวัย นิยมทำหัตถการ ดูแลผิวมากขึ้น ดันธุรกิจเวชศาสตร์ความงามโต 9.7% ต่อปี
You May Like
สำรวจ Exness Terminal
เงื่อนไขดีกว่าเมื่อเทรดทองคำ น้ำมัน หุ้น ฯลฯ | บัญชีมาตรฐานและมืออาชีพ | สำรวจ Exness
Exness
|
Sponsored
ค้นพบโซลูชันบ้านสำเร็จรูปราคาประหยัดใน ตลาด
ข้อเสนอบ้านสำเร็จรูปที่ดีที่สุดในพื้นที่ของคุณ - ดูราคา
บ้านสำเร็จรูป | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
ตลาด: บ้านคอนเทนเนอร์ที่ขายไม่ออกลดราคาแทบไม่มีอะไรเลย
ข้อเสนอบ้านคอนเทนเนอร์ขนส่งสินค้าที่ดีที่สุด - ดูราคา
บ้านคอนเทนเนอร์ | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
บ้านสำเร็จรูปพร้อมห้องน้ำและอ่างอาบน้ำในราคาใหม่ (2024)
บ้านสำเร็จรูป | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
ที่อยู่อาศัยที่สะดวกสบายสำหรับผู้สูงอายุใน ตลาด - ราคาน่าทึ่งสำหรับปี 2024!
การใช้ชีวิตอาวุโส | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
ตลาด: ขายเครื่องซักผ้าในสต็อกในราคาเกือบแจกฟรี
เครื่องซักผ้า | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
ตลาด: ขายตู้เย็น เกือบฟรี! ดูราคา
ราคาตู้เย็น | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
แอร์เคลื่อนที่ 12000 Btu สำหรับบ้าน (ดูเพิ่มเติม)
เครื่องปรับอากาศเคลื่อนที่ | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
แนะนำเตียงอัจฉริยะสุดล้ำสำหรับทุกบ้านใน ตลาด ปี 2024
เตียงอัจฉริยะ | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
ผู้เกษียณอายุสามารถซื้อรถยนต์ไฟฟ้าเหล่านี้ได้ ดูราคา
รถยนต์ไฟฟ้า | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
แอร์เคลื่อนที่ 12000 Btu สำหรับบ้าน มหาสารคาม (ดูเพิ่มเติม)
เครื่องปรับอากาศเคลื่อนที่ | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
บ้านคอนเทนเนอร์ที่ยังไม่ขายใน ตลาด: ดูราคา!
จัดส่งบ้านคอนเทนเนอร์ | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
วิธีลดอาการปวดเข่าโดยไม่ต้องผ่าตัดในปี 2024? แบบนี้....
วิธีรักษาอาการปวดเข่ายอดนิยมในปี 2024 – ดูที่นี่
อาการปวดเข่า | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
รถ SUV มือสองรุ่นปี 2024 ขายได้เท่าไหร่ใน ตลาด (ดูที่นี่)
ข้อเสนอ SUV | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
ลิฟต์บันไดแบบพกพาแบบใหม่ที่ไม่ต้องติดตั้งให้ยุ่งยาก (ดู)
ลิฟต์บันได | ค้นหาโฆษณา
|
Sponsored
วันอังคารที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
นนวัตกรรม ว้าว ๆ ของแฟง
“ยานยนต์ไร้คนขับ” กับทิศทางการเติบโตในปี 2022-2045
อัปเดตล่าสุด 23 ต.ค. 2566
Share :
9,490 Reads
“ยานยนต์ไร้คนขับ” (Autonomous Vehicles) หนึ่งในเทรนด์เทคโนโลยีมาแรงคู่กับรถยนต์ไฟฟ้า แต่เชื่อว่าหลายท่านยังไม่ชัดเจนนักว่า เทคโนโลยีนี้จะถูกนำมาใช้จริงบนท้องถนนเมื่อไหร่กัน มาไขประเด็นในบทความนี้
ยานยนต์ไร้คนขับ คืออะไร?
ยานยนต์ไร้คนขับ หรือ Autonomous Vehicle คือ เทคโนโลยียานยนต์ที่สามารถขับเคลื่อนด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องมีคนควบคุม บางครั้งเราเรียกยานพาหนะประเภทนี้ว่า รถยนต์ไร้คนขับ (Autonomous Car) หรือ รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Self-Driving Car)
สืบค้นย้อนกลับไปได้ไกลที่สุดถึงช่วงปี 1925 บริษัท Houdina Radio Control ผู้ผลิตอุปกรณ์วิทยุ ได้สาธิตการใช้คลื่นวิทยุควบคุมรถยนต์ที่นิวยอร์ก โดยหลังจากนั้นก็มีการทดลองใช้วิทยุควบคุมรถมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปี 1940 นาย Norman Bel Geddes นักอุุตสาหกรรมชาวอเมริกัน ได้เสนอแนวคิดรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ และระบบคมนาคมแห่งอนาคตลงในหนังสือ “Magic Motorways” ว่า มนุษย์ควรถูกแยกออกจากกระบวนการขับขี่ และคาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 1960
แนวคิดยานยนต์อัตโนมัติที่ไร้ซึ่งคนขับจะช่วยตอบโจทย์การขนส่งและการขับขี่ในโลกอนาคตเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในหลายประเทศที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงาน การหาพนักงานขับรถจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ทว่าการผลักดันการใช้ยานยนต์ไร้คนขับยังมีอีกหลายเรื่องที่ต้องพัฒนาไปพร้อม ๆ กันโดยเฉพาะความพร้อมของสภาพแวดล้อมบนถนน
Hitachi Transport System ยกระดับโลจิสติกส์ เล็งใช้รถบรรทุกไร้คนขับ ต้นปี 2019
Hino ลุย ระบบขับขี่อัตโนมัติ
Advertisement
สมาคมวิศวกรรมยานยนต์นานาชาติ หรือ SAE International ได้จัดทำ “มาตรฐาน SAE J3016” ขึ้นเมื่อปี 2014 เพื่อใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการพัฒนายานยนต์ชนิดนี้ ซึ่งแบ่งระดับมาตรฐานของยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติไว้ 6 level โดยมีรายละเอียด ดังนี้
Level 0: ระบบของยานยนต์สามารถแจ้งเตือนไปจนถึงแทรกแซงผู้ขับได้ แต่ไม่สามารถขับเคลื่อนตัวเองได้
Level 1: ผู้ขับต้องวางมือบนพวงมาลัยตลอดเวลา แต่ระบบสามารถควบคุมเครื่องยนต์ให้ทำงานในความเร็วที่กำหนด เช่น ระบบช่วยจอดอัตโนมัติ
Level 2: ระบบควบคุมยานยนต์ทั้งหมด ทั้งการเร่งเครื่อง การเบรก และการเลี้ยว แต่ผู้ขับขี่ต้องพร้อมควบคุมแทนตลอดเวลา ซึ่งรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติในท้องตลาดปัจจุบันจะอยู่ในระดับนี้
Level 3: ผู้ขับสามารถละจากการขับรถไปทำอย่างอื่นได้ เช่น ดูหนังบนรถ แต่ต้องพร้อมกลับมาขับต่อในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งแม้จะมีรถยนต์หลายรุ่นที่ถูกเรียกว่าระดับ 3 เป็นคันแรกของโลก แต่บริษัทแรกที่ได้รับใบรับรองตามกฎของสหประชาชาติ คือ Mercedes-Benz ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2021
Level 4: ซึ่งหลักๆ จะเหมือนกับ 3 ต่างที่ผู้ขับขี่ไม่ต้องนั่งตลอด สามารถลุกไปทำอย่างอื่นหรือหลับบนรถได้ และเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินรถต้องชะลอจอดข้างทางได้ด้วยตัวเอง โดยปัจจุบันยังไม่มีรถในระดับนี้ทั้งคัน มีเพียงฟังก์ชันบางส่วนเท่านั้น เช่น ระบบจอดรถอัตโนมัติ ซึ่งบริษัทแรกที่ส่งเข้าสู่ตลาดได้ก็เป็น Benz อีกเช่นกัน หรืออย่าง e-Palette ของโตโยต้าที่วิ่งให้บริการในหมู่บ้านนักกีฬาของโอลิมปิกโตเกียวเอง ก็ถูกนับว่ามีความเป็นไปได้ที่จะอยู่ในระดับนี้ด้วย
Level 5: หรือระบบอัตโนมัติโดยสมบูรณ์ โดยที่คนขับไม่ต้องทำอะไรเลย ซึ่งก็ยังไม่เกิดขึ้นจริงเช่นกัน
ความเคลื่อนไหวล่าสุด ขับขี่อัตโนมัติระดับ 4 และ 5
ยานยนต์อัตโนมัติคือสิ่งจำเป็น สำนักวิเคราะห์อังกฤษคาด ยอดพุ่งทั่วโลก
12 ข้อบังคับ ระบบขับขี่อัตโนมัติ
ยานยนต์อัตโนมัติคืออะไร? ตลาดปี 2022 - 2045 มีแนวโน้มอย่างไรบ้าง?, ยานยนต์ไร้คนขับ เทคโนโลยียานยนต์ไร้คนขับ เทคโนโลยีรถยนต์ไร้คนขับ ยานพาหนะไร้คนขับ รถยนต์ไร้คนขับ รถยนต์ไร้คนขับในไทย autonomous vehicles คือ autonomous car คือ self-driving car คือ full self-driving คือ รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง รถยนต์ขับเอง รถขับเอง รถยนต์ขับเองได้ รถขับเองได้ รถไร้คนขับเป็นเทคโนโลยีประเภทใด แนวโน้ม ในอนาคต ของรถยนต์ไร้คนขับ ประโยชน์ของรถยนต์ไร้คนขับ ส่วนประกอบของรถยนต์ไร้คนขับ วิวัฒนาการ รถยนต์ไร้คนขับ ระบบ ขับรถ อัต โน มั ต
แนวโน้มตลาดยานยนต์ไร้คนขับปี 2022 - 2045
สำนักวิเคราะห์ตลาด Fuji Keizai ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดทำรายงานแนวโน้มตลาดยานยนต์ไร้คนขับทั่วโลกปี 2022 - 2045 เนื่องจากเล็งเห็นแนวโน้มถึงความเป็นไปได้ที่ตลาดจะเริ่มเติบโตตั้งแต่ปี 2022 เป็นต้นไป โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ยานยนต์ไร้คนขับ Level 2 จะมียอดผลิตรวม 3,608,000 คันทั่วโลกในปี 2022 และเพิ่มเป็น 6,176,000 คันในปี 2030 และลดลงเหลือ 6,166,000 คันในปี 2045
ยานยนต์ไร้คนขับ Level 3 จะมียอดผลิตรวม 30,000 คันทั่วโลกในปี 2022 และเพิ่มเป็น 580,000 คันในปี 2030 และลดลงเหลือ 2,847,000 คันในปี 2045 โดยช่วงต้นนั้น ยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติระดับ 3 จะจำกัดอยู่ที่รถหรูเป็นหลัก จากนั้นจึงเริ่มนำมาใช้ในรถโดยสารสาธารณะ ซึ่งข้อจำกัดใหญ่มาจากกฎหมายจราจร จึงอาจต้องรอถึงปี 2030
ยานยนต์ไร้คนขับ Level 4-5 จะมียอดผลิตรวม 90,000 คันทั่วโลกในปี 2022 และเพิ่มเป็น 433,000 คันในปี 2030 และลดลงเหลือ 2,051,000 คันในปี 2045 ปัจจุบัน ยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติในระดับนี้อยู่ในขั้นตอนการทดลองกับรถโดยสารในจีนและสหรัฐฯ เช่น แท็กซี่และรถบัสไร้คนขับ และคาดว่าจะเริ่มแพร่หลายในปี 2030 เป็นต้นไปเช่นเดียวกัน ซึ่งสำหรับ Level 5 แล้วไม่ใช่แค่ข้อกฎหมายเท่านั้น แต่ยังจำเป็นต้องพัฒนาเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานให้รองรับอีกด้วย
รวมข่าวความคลื่อนไหว ‘ยานยนต์ไร้คนขับ’ ในไทยและทั่วโลก
สัมมนา “การเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยียานยนต์ของประเทศไทย" ชูเทคโนโลยี CASE - CAV ต้องตามให้ทัน
สยย. ระดมสมองภาครัฐ และเอกชนร่างแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี มุ่งสู่ยานยนต์อัตโนมัติ (CAV)
วิศวะจุฬาฯ จับมือหน่วยงานรัฐฯ ทดสอบ 5G เชื่อมต่อเทคโนโลยีรถไร้คนขับ ยานยนต์แห่งอนาคต
สวทช. เดินหน้าพัฒนา ‘รถมินิบัสไฟฟ้าขับขี่อัตโนมัติ’ ยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
ญี่ปุ่น นำร่อง “รถไร้คนขับ” ให้บริการทางการแพทย์
เริ่มแล้ว! อุตฯ โลจิสติกส์ หันใช้เทคฯ ยานยนต์อัตโนมัติส่งพัสดุ
“เมาไม่ขับ” ยานยนต์อัตโนมัติยังรู้
Toyota เผยโฉม e-Palette ใช้ร่วม MaaS สู่ระบบขนส่งมวลชนแห่งอนาคต
Apple ลุยยานยนต์ ส่งรถขับขี่อัตโนมัติเข้าตลาดปี 2024
XCMG เผยโฉมรถบดถนนไร้คนขับ
#ยานยนต์ไร้คนขับ คือ #เทคโนโลยียานยนต์ไร้คนขับ #เทคโนโลยีรถยนต์ไร้คนขับ #ยานพาหนะไร้คนขับ #รถยนต์ไร้คนขับ คือ #autonomous vehicles คือ #autonomous car คือ #self-driving car คือ #full self-driving คือ #รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง #รถยนต์ขับเองได้ #รถไร้คนขับเป็นเทคโนโลยีประเภทใด #แนวโน้มในอนาคตของรถยนต์ไร้คนขับ #ประโยชน์ของรถยนต์ไร้คนขับ #วิวัฒนาการ รถยนต์ไร้คนขับ #ระบบขับรถอัตโนมัติ
บทความยอดนิยม 10 อันดับ
สรุปยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก 2022
ภาพรวมอุตสาหกรรมโซลาร์เซลล์ของไทย
สถานการณ์ชิปขาดตลาด 2022 จะสิ้นสุดเมื่อไหร่?
12 เทรนด์เทคโนโลยีมาแรงแห่งปี 2022
10 ตัวอย่างที่นำ 5G มาใช้งานได้อย่างน่าสนใจและประสบผลสำเร็จ
เทคโนโลยีแห่ง G สู่ 5G เครือข่ายไร้สาย
แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนคืออะไร ตลาดจะก้าวไปในทางไหนในปี 2030?
เทคโนโลยีสำหรับโลจิสติกส์ ทางเลือกสู่ทางรอด ปรับก่อนโดนเบียด
นิยามใหม่ SME ใช้ “รายได้” เป็นตัวกำหนด
FTA ไทย มีกี่ประเทศ พอหรือไม่ ทำไมต้องคิดเรื่อง CPTPP
อัปเดตข่าวทุกวันที่นี่ www.mreport.co.th
Line / Facebook / Twitter / YouTube @MreportTH
Self-Driving Car
Autonomous Vehicles
Autonomous Driving
Automotive
Technology
อุตสาหกรรมยานยนต์
สินค้า
วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2566
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)